บริการนี้จัดส่งใบกำกับภาษีแบบกระดาษ สงวนสิทธิ์การขอย้อนหลัง/แก้ไข
บริการตรวจสอบระบบไฟฟ้าภายในบ้าน
- ตรวจสอบระบบไฟฟ้าในบ้าน 9 จุด ได้แก่ แผงจ่ายไฟหลัก, แผงจ่ายไฟย่อย 1 แผง, เครื่องทำน้ำอุ่น ไม่เกิน 2 เครื่อง, เต้ารับไฟฟ้า 10 จุด, สวิตซ์ไฟฟ้า 10 จุด, เครื่องใช้ไฟฟ้าที่มีโครงสร้างเป็นโลหะ ที่มีความเสี่ยงในการสัมผัสแล้วเกิดไฟรั่ว, วงจรไฟฟ้าภายนอกบ้าน เช่น ไฟรั้ว, กระดิ่งไฟฟ้า, ประตูไฟฟ้า, เบรกเกอร์ย่อยต่างๆที่มีการติดตั้งเพิ่มเติม ตามจุดต่างๆ, การเดินสายไฟ, ท่อ/รางเดินสายไฟ (สำหรับจุดที่มีการเปิดตรวจสอบได้)
- รายการตรวจตามมาตรฐานการติดตั้งไฟฟ้าสำหรับประเทศไทย และ IEC 60364-6
- ทีมช่างมืออาชีพ ผ่านการรับรองความรู้ความสามารถช่างไฟฟ้าภายในอาคาร
- พื้นที่ให้บริการ: กรุงเทพมหานคร นครนายก นครปฐม นครพนม นนทบุรี ปทุมธานี พระนครศรีอยุธยา มุกดาหาร ยโสธร ร้อยเอ็ด สมุทรปราการ สมุทรสาคร สระบุรี อำนาจเจริญ
- รับประกัน 180 วัน
- ให้บริการโดย Q Chang
เงื่อนไขการให้บริการ
- กรณีงานซ่อมที่ไม่ซับซ้อน ไม่ต้องใช้อุปกรณ์เพิ่ม ช่างสามารถซ่อมในวันตรวจสอบได้เลย โดยค่าตรวจสอบสามารถใช้เป็นส่วนลดในค่าซ่อมได้
- กรณีงานซ่อมที่ต้องซื้ออุปกรณ์เพิ่มเติม ช่างจะนัดวันเข้ามาดำเนินการซ่อมให้อีกครั้ง โดยค่าตรวจสอบจะไม่สามารถใช้เป็นส่วนลดในค่าซ่อมได้
- กรณีมีแผงจ่ายไฟย่อยมากกว่า 1 แผง และต้องการให้ตรวจสอบ มีค่าบริการตรวจสอบเพิ่มแผงย่อยละ 400 บาท
- เพื่อการซ่อมและแก้ปัญหาที่ตรงจุดช่างจะเข้าตรวจสอบวิเคราะห์ปัญหาก่อนและจะเสนอราคาให้ลูกค้าตัดสินใจก่อนซ่อม
รายละเอียดของการตรวจสอบระบบไฟฟ้าภายในบ้านเป็นไปตามมาตรฐานการติดตั้งไฟฟ้าสำหรับประเทศไทย ปี 2556 และ IEC 60364-6 : Low-Voltage electrical installations standard ซึ่งรวมถึงรายละเอียดต่างๆต่อไปนี้ด้วย
- ตรวจสอบความมั่นคง แข็งแรง การติดตั้งยึดจับ และสภาพแผงจ่ายไฟฟ้า, อุปกรณ์ไฟฟ้า, สวิตซ์-เต้ารับไฟฟ้า และอุปกรณ์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง
- ตรวจสอบอุปกรณ์ไฟฟ้าที่ต้องมีระบบป้องกันไฟดูด
- ตรวจสอบขนาดสายไฟให้เหมาะกับวงจรอุปกรณ์ และตรวจสอบแรงดันตก
- ตรวจสอบการเลือกและการตั้งค่าเบรคเกอร์ให้เหมาะสมกับวงจรย่อย
- ตรวจสอบความจำเป็นและตำแหน่งของอุปกรณ์ ปิด/เปิด และตัดแยกวงจรไฟฟ้าที่เหมาะสม เช่น คัทเอาท์, เซฟตี้สวิตซ์
- ตรวจสอบการเลือกอุปกรณ์และมาตรฐานการป้องกันที่เหมาะสมกับการติดตั้งใช้งาน
- ตรวจสอบสายนิวทรอลและสายดินว่ามีสีเป็นมาตรฐาน และแยกกันอย่างชัดเจนหรือไม่
- ตรวจสอบสวิตซ์ไฟฟ้าชนิดขั้วเดียวจะต้องต่อกับสายที่มีไฟฟ้าเท่านั้น
- ตรวจสอบการระบุ, อุปกรณ์ป้องกัน, สวิตซ์, จุดต่อสาย, และวงจรที่จำเป็นต้องผ่านเครื่องป้องกันไฟรั่วและติดตั้งสายดิน
- ตรวจสอบจุดต่อ, การเข้าสายในตำแหน่งต่างๆของสายไฟฟ้ามีความถูกต้องเหมาะสมหรือไม่ เช่น สายดินอาจมีการต่อเข้าไปจุดสายนิวทรัล
- ตรวจสอบการเข้าถึงแผงจ่ายไฟฟ้าเพื่อความสะดวกแก่การบำรุงรักษา
- ตรวจสอบความถูกต้องของการเข้าสายไฟในเต้ารับไฟฟ้า
- ตรวจสอบการติดตั้งสายดิน
บริการตรวจสอบระบบไฟฟ้าภายในบ้าน
- ตรวจสอบระบบไฟฟ้าในบ้าน 9 จุด ได้แก่ แผงจ่ายไฟหลัก, แผงจ่ายไฟย่อย 1 แผง, เครื่องทำน้ำอุ่น ไม่เกิน 2 เครื่อง, เต้ารับไฟฟ้า 10 จุด, สวิตซ์ไฟฟ้า 10 จุด, เครื่องใช้ไฟฟ้าที่มีโครงสร้างเป็นโลหะ ที่มีความเสี่ยงในการสัมผัสแล้วเกิดไฟรั่ว, วงจรไฟฟ้าภายนอกบ้าน เช่น ไฟรั้ว, กระดิ่งไฟฟ้า, ประตูไฟฟ้า, เบรกเกอร์ย่อยต่างๆที่มีการติดตั้งเพิ่มเติม ตามจุดต่างๆ, การเดินสายไฟ, ท่อ/รางเดินสายไฟ (สำหรับจุดที่มีการเปิดตรวจสอบได้)
- รายการตรวจตามมาตรฐานการติดตั้งไฟฟ้าสำหรับประเทศไทย และ IEC 60364-6
- ทีมช่างมืออาชีพ ผ่านการรับรองความรู้ความสามารถช่างไฟฟ้าภายในอาคาร
- พื้นที่ให้บริการ: กรุงเทพมหานคร นครนายก นครปฐม นครพนม นนทบุรี ปทุมธานี พระนครศรีอยุธยา มุกดาหาร ยโสธร ร้อยเอ็ด สมุทรปราการ สมุทรสาคร สระบุรี อำนาจเจริญ
- รับประกัน 180 วัน
- ให้บริการโดย Q Chang
เงื่อนไขการให้บริการ
- กรณีงานซ่อมที่ไม่ซับซ้อน ไม่ต้องใช้อุปกรณ์เพิ่ม ช่างสามารถซ่อมในวันตรวจสอบได้เลย โดยค่าตรวจสอบสามารถใช้เป็นส่วนลดในค่าซ่อมได้
- กรณีงานซ่อมที่ต้องซื้ออุปกรณ์เพิ่มเติม ช่างจะนัดวันเข้ามาดำเนินการซ่อมให้อีกครั้ง โดยค่าตรวจสอบจะไม่สามารถใช้เป็นส่วนลดในค่าซ่อมได้
- กรณีมีแผงจ่ายไฟย่อยมากกว่า 1 แผง และต้องการให้ตรวจสอบ มีค่าบริการตรวจสอบเพิ่มแผงย่อยละ 400 บาท
- เพื่อการซ่อมและแก้ปัญหาที่ตรงจุดช่างจะเข้าตรวจสอบวิเคราะห์ปัญหาก่อนและจะเสนอราคาให้ลูกค้าตัดสินใจก่อนซ่อม
รายละเอียดของการตรวจสอบระบบไฟฟ้าภายในบ้านเป็นไปตามมาตรฐานการติดตั้งไฟฟ้าสำหรับประเทศไทย ปี 2556 และ IEC 60364-6 : Low-Voltage electrical installations standard ซึ่งรวมถึงรายละเอียดต่างๆต่อไปนี้ด้วย
- ตรวจสอบความมั่นคง แข็งแรง การติดตั้งยึดจับ และสภาพแผงจ่ายไฟฟ้า, อุปกรณ์ไฟฟ้า, สวิตซ์-เต้ารับไฟฟ้า และอุปกรณ์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง
- ตรวจสอบอุปกรณ์ไฟฟ้าที่ต้องมีระบบป้องกันไฟดูด
- ตรวจสอบขนาดสายไฟให้เหมาะกับวงจรอุปกรณ์ และตรวจสอบแรงดันตก
- ตรวจสอบการเลือกและการตั้งค่าเบรคเกอร์ให้เหมาะสมกับวงจรย่อย
- ตรวจสอบความจำเป็นและตำแหน่งของอุปกรณ์ ปิด/เปิด และตัดแยกวงจรไฟฟ้าที่เหมาะสม เช่น คัทเอาท์, เซฟตี้สวิตซ์
- ตรวจสอบการเลือกอุปกรณ์และมาตรฐานการป้องกันที่เหมาะสมกับการติดตั้งใช้งาน
- ตรวจสอบสายนิวทรอลและสายดินว่ามีสีเป็นมาตรฐาน และแยกกันอย่างชัดเจนหรือไม่
- ตรวจสอบสวิตซ์ไฟฟ้าชนิดขั้วเดียวจะต้องต่อกับสายที่มีไฟฟ้าเท่านั้น
- ตรวจสอบการระบุ, อุปกรณ์ป้องกัน, สวิตซ์, จุดต่อสาย, และวงจรที่จำเป็นต้องผ่านเครื่องป้องกันไฟรั่วและติดตั้งสายดิน
- ตรวจสอบจุดต่อ, การเข้าสายในตำแหน่งต่างๆของสายไฟฟ้ามีความถูกต้องเหมาะสมหรือไม่ เช่น สายดินอาจมีการต่อเข้าไปจุดสายนิวทรัล
- ตรวจสอบการเข้าถึงแผงจ่ายไฟฟ้าเพื่อความสะดวกแก่การบำรุงรักษา
- ตรวจสอบความถูกต้องของการเข้าสายไฟในเต้ารับไฟฟ้า
- ตรวจสอบการติดตั้งสายดิน